The Pakkret Municipality has an area of 36.04 sq.km. It consists of 34 villages in five tambons or subdistricts, namely, Pakkret, Bangpud, Banmai, Bangtalad, and Klongklau.

The Municipality of Pakkret borders with the Phathumthani Muang District in Phathumthani Province to the north, with the Nonthaburi City Municipality to the south, with the Donmuang District in Bangkok to the east, and with the Chao Praya River ( at Bang Tanai Village, Prakkret District) to the west.

The Pakkret Municipality is locater on the Chao Praya River Plain which is suitable for agricultural activities, such as fruit orchards, The tasty well- known fruit produced within the area are durian, Pamela, mangosteen, and banana.

However, as the location of the municipality is neighboring with Bangkok, only 20 km. far, and communication routes (land route and waterway) are very convenient, almost the whole landuse of the municipality has been transformed from agricultural purpose to residential and commercial ones. Investment, especially on house construction, is far thriving, About hundreds home villages are constructed. Infrastructure, Public utility and Facility

1. Road
There are 8 roads/streets and 67 lanes within the municipality, with the
total length of 65.29 km., as follows
49 concrete roads = 48.20
8 asphalt roads = 7.76
16 rock blended roads = 7.99
2 pebble roads = 1.34

2. Transportation There are two means of transportation used within the districts of Nonthaburi Province and with other provinces.
Highway: Two highways used are Chaengwattana Road and Thiwanon Road. The distant from Pakkret District to Nonthaburi Province and to Bangkok are about 10 and 20 km. respectively.
Waterway: The popular waterway used from Pakkret District to Bangkok is the Chao Praya River route by using express ferryboats. Additionaly, long-tailed boats are used for traveling in the nearby area.

3. Water Supply
Water supply utilized within the Municipal boundary comes from the Water Supply Office, Nonthaburi Branch

4. Electricity
Electricity used within the Municipal area is from the Power Authority Office, Nonthaburi Branch.

5. Postal Service There are two post offices, at the Hah Yak Prakkret and the Sukhaprachasan Lane. Economic Condition
1.Livestock
Cow and milchcow are raised in Bangtalad Subdstrict.
2.Commerce
are various types of business, as, wholesaling, retailing, land and property business, etc.


3.Industry
There are 142 manufactures situated within the municipality, such as, texile, tailoring, electronic, plywood, paper, food, and rice-mill industries.

These manufactures are categorized into three sized, namely:
- 96 small sized factories
- 34 medium sized factories
- 12 large sized factories
4. Banking, Market, Departmentstore, Hotel, Pawnshop, and Public/Health Park
- 18 banks
- 3 fresh markets
- 4 departmentstores
- 2 hotels
- 1 pawnshop
- 3 public/health park

Social Condition
1. Population and Household
In 2008, there were 167,664 people living in the Pakkret municipal area. The mumber of households were about 91,119.

2. Education
At present, there is no school operated by the municipality. However, there are many educational institutes established within the area, namely:
- 19 public and private primary schools
- 8 public and private high schools
- 1 university

3. Religion
- 16 Buddhist temples
- 2 Christian churches
- 2 Muslim temples
- 4 joss houses

4. Public Health
There are 2 public and 1 private hospitals, and 1 municipality public health service center. The municipality public health services include nursing,mother and child care,health promotion,communicable disease preventioncontrol,slaughterhouse,sanitation and cleaning. Administration

There are 8 divisions established in the Pakkret Municiplity as follows
1) Office of the Municipal
2) Division of Finance
3) Division Public Works
4) Sanitary Works Division
5) Technical Services and Planing Division
6) Division of Public Health and Environment
7) Social Welfare Division
8) Education Division which comprises

There is no treatment of waste water from manufactures is the minicipal are a Local people dump their garbage in drainage and canals. Weak enforcement of laws related to solid waste management and expensive investment for purchasing vast land and for constructing a waste water treatment plant.

land of Pakkret Municipality is a low land , have many many canal to connect the land Now water and waste water drain direct to canal and river. The water of canal is blank and dirty.

The Municipality have the land for waste water treatment
1. Srisaman road in Banmai district 30 rai
2. Pachasongkok area 2 rai
3. Pig slaughter house

So the suitable research project , study under sign-tech engineering consultant co.ltd. could be a study about sanitary environment of Pakkret Municipality Begin field of by survey problem and analysis then research method to improve and sovle about problem for a good environment

ดวงตราและวิสัยทัศน์เทศบาลนครปากเกร็ด

 


ขนาด เป็นตรารูปกลม ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 เซนติเมตร รูปลักษณะ ขอบบนมีอักษร "เทศบาลนครปากเกร็ด" ขอบล่างมีอักษร "จังหวัดนนทบุรี" ความหมาย "เทศบาลนครปากเกร็ด" ใช้รูปหม้อน้ำลายวิจิตรและหงส์คู่เป็นตราประจำเทศบาล มีความหมายว่า ปากเกร็ดนั้นสืบเชื้อสายมอญมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ยึดอาชีพเครื่องปั้นดินเผา สัญลักษณ์หงส์คู่ บ่งบอกถึงการเลื่อมใสในพระพุทธศาสนามาช้านาน และแผ่ขยายความเจริญรุ่งเรืองให้คงอยู่สืบไป

 

วิสัยทัศน์เทศบาลนครปากเกร็ด

"แหล่งการศึกษาชั้นดี ที่อยู่อาศัยชั้นนำ ถิ่นวัฒนธรรมดั้งเดิม ประชาชนร่วมเสริมการพัฒนา"

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญของเทศบาลนครปากเกร็ด

 

1. ลักษณะที่ตั้ง
เทศบาลนครปากเกร็ด ตั้งอยู่ในอำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ด้านฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาระยะทางห่างจากจังหวัดนนทบุรี ประมาณ 10 กิโลเมตร ทำเลที่ตั้งเป็นปริมณฑลติดกับกรุงเทพมหานคร

2. อาณาเขต
 
อาณาเขตติดต่อ :
ทิศเหนือ ติดต่อ อำเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี
ทิศใต้ ติดต่อ เทศบาลนครนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
ทิศตะวันออก ติดต่อ เขตดอนเมืองและเขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร
ทิศตะวันตก ติดต่อ แม่น้ำเจ้าพระยา (ตำบลบางตะไนย์ อำเภอปากเกร็ด)

3. พื้นที่
เทศบาลนครปากเกร็ดมีพื้นที่ปกครอง 36.04 ตารางกิโลเมตร ครอบคลุมพื้น 5 ตำบล 34 หมู่บ้าน

4. ทะเบียนราษฏร
4.1 ข้อมูลบ้านและครัวเรือนในเขตเทศบาลนครปากเกร็ด
จากข้อมูลด้านทะเบียนราษฏรของเทศบาลนครปากเกร็ดซึ่งรับผิดชอบพื้นที่ปกครอง 5 ตำบล โดยมีจำนวนหมู่บ้านตามเขตปกครองรวม 34 หมู่บ้าน มีจำนวนบ้านรวม 141,605 หลัง และจำนวนครัวเรือนรวม 73,755 ครัวเรือน โดยแสดงรายละเอียดจำแนกตามตำบลไว้ ดังนี้

ตารางที่ 1 ตารางแสดงจำนวนหมู่บ้าน จำนวนบ้าน และจำนวนครัวเรือนในเขตเทศบาลนครปากเกร็ด

ตำบล จำนวนหมู่บ้าน จำนวนบ้าน จำนวนครัวเรือน
ตำบลปากเกร็ด 5 23,121 13,062
ตำบลบางพูด 9 45,028 23,080
ตำบลบ้านใหม่ 6 38,275 16,862
ตำบลบางตลาด 10 24,801 15,519
ตำบลคลองเกลือ 4 10,380 5,232
รวม 34 141,605 73,755

อัตราเฉลี่ยประชาการ 5,250 คนต่อตารางกิโลเมตร
ข้อมูล ณ กันยายน 2567

4.2 ข้อมูลจำนวนประชากร
ปัจจุบันในเขตเทศบาลนครปากเกร็ดมีประชากรตามข้อมูลของสำนักทะเบียนราษฏรเทศบาลนครปากเกร็ดจำนวนทั้งสิ้น 189,192 คน แยกเป็น เพศชาย จำนวน 87,022 คน เพศหญิง จำนวน 102,170 คน ความหนาแน่นของประชากรเฉลี่ยต่อพื้นที่เท่ากับ 5,250 คนต่อตารางกิโลเมตร

ตารางที่ 2 ตารางแสดงจำนวนประชากรในเขตเทศบาลนครปากเกร็ดจำแนกตามเพศ

ตำบล ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน)
ตำบลปากเกร็ด 16,429 19,442 35,871
ตำบลบางพูด 28,620 34,434 63,054
ตำบลบ้านใหม่ 16,550 19,056 35,606
ตำบลบางตลาด 21,082 23,609 44,691
ตำบลคลองเกลือ 4,341 5,629 9,970
รวม 87,022 102,170 189,192

ข้อมูล ณ กันยายน 2567

ตารางที่ 3 ตารางแสดงการเปรียบเทียบจำนวนประชากรในเขตเทศบาลนครปากเกร็ด ย้อนหลัง 4 ปี

ตำบล ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567
ตำบลปากเกร็ด 36,108 36,608 36,166 35,871
ตำบลบางพูด 63,806 63,331 63,163 63,054
ตำบลบ้านใหม่ 34,452 34,977 35,266 35,606
ตำบลบางตลาด 46,669 45,347 45,029 44,691
ตำบลคลองเกลือ 9,560 9,655 9,804 9,970
รวม 190,595 189,918 189,428 189,192

ข้อมูล ณ  กันยายน 2567

จากข้อมูลในตารางที่ 3 แสดงให้เห็นจำนวนประชากรในช่วงระยะเวลาสี่ปี (พ.ศ.2564 - 2567) โดยลดลงจากปี 2564 เป็นจำนวน 1,403 คน ทั้งนี้ ยังไม่รวมกลุ่มประชากรแฝงที่อาศัยอยู่ในพื้นที่โดยไม่ปรากฏข้อมูลในระบบทะเบียนราษฏร ซึ่งมีจำนวนมากและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังไม่มีแนวทางในการจัดเก็บข้อมูลในส่วนนี้

ตารางที่ 4 ตารางแสดงจำนวนประชากรในเขตเทศบาลนครปากเกร็ดแยกตามกลุ่มอายุ ย้อนหลัง 4 ปี

ตำบล อายุ 1-6 ปี (ก่อน-ปฐมวัย) อายุ 7-17 ปี (ประถม-มัธยม) อายุ 18-59 ปี (ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง) อายุ 60 ขึ้นไป
    2564    2565      2566       2567       2564       2565       2566  2567     2564       2565       2566   2567     2564       2565       2566   2567
ตำบลปากเกร็ด 2,733 2,334 2,058 1,794 4,824 5,105 5,035 4,937 21,029 21,371 21,062 20,778 7,522 7,798 8,011 8,362
ตำบลบางตลาด 2,493 2,293 2,247 2,149 5,842 5,403 5,227 5,163 27,271 26,239 25,878 25,505 11,063 11,412 11,677 11,874
ตำบลบ้านใหม่ 2,146 2,043 1,942 1,876 4,176 4,219 4,244 4,259 22,280 22,571 22,594 22,600 5,850 6,144 6,486 6,871
ตำบลบางพูด 3,511 3,185 2,964 2,738 7,590 7,467 7,335 7,171 40,540 39,963 39,531 39.204 12,165 12,716 13,333 13,941
ตำบลคลองเกลือ 443 403 399 389 777 781 774 778 5,928 5,971 6,063 6,170 2,412 2,500 2,568 2,633
รวม 11,326 10,258 9,610 8,946 23,209 22,975 22,615 22,308 117,048 116,115 115,128 114,257 39,012 40,570 42,075 43,681

 ข้อมูล ณ กันยายน 2567

5. ลักษณะภูมิประเทศ

ด้วยพื้นที่ภายในเขตเทศบาลนครปากเกร็ด ตั้งอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นที่ราบลุ่มสามเหลี่ยมแม่น้ำเจ้าพระยาที่เรียกว่าที่ราบกรุงเทพ การตั้งถิ่นฐานในบริเวณนี้มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา เนื่องจากพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านเกษตรกรรม จึงได้มีการขุดคูคลองเพื่อส่งน้ำเข้าพื้นที่สวนไร่นา ด้วยสภาพพื้นที่ในปัจจุบัน กลายเป็นพื้นที่รองรับการเจริญเติบโตของกรุงเทพมหานครฯ ซึ่งปัจจุบันได้มีการพัฒนาพื้นที่เป็นที่อยู่อาศัย หน่วยงานราชการ แหล่งธุรกิจ เขตอุตสาหกรรม ศาสนสถาน และโรงเรียน จนกลายเป็นพื้นที่ชุมชนหนาแน่นแล้ว คูคลองแหล่งน้ำธรรมชาติ เดิมเป็นพื้นที่ในการส่งน้ำเข้าสู่พื้นที่สวนไร่นา แต่ปัจจุบันกลายเป็นที่รองรับการระบายน้ำลงสู่แม่น้ำเจ้าพระยา จากการสำรวจข้อมูลจากสำนักงานที่ดิน อำเภอปากเกร็ด พบว่าพื้นที่ในเขตเทศบาลปากเกร็ด มีคูคลองแหล่งน้ำตามธรรมชาติ ดังนี้

ตารางที่ 5 ตารางแสดงรายชื่อคู คลอง ลำกระโดง และลำรางสาธารณประโยชน์ภายในเขตเทศบาลนครปากเกร็ด

คลองสาธารณะ ลำรางสาธารณะ ลำกระโดงสาธารณะ คูน้ำสาธารณะ
1. คลองบางตลาด 1. ลำรางตาบุญ 1. ลำกระโดงสาธารณะ 1. คูวัดหงษ์ทอง
2. คลองทองหลาง 2. ลำรางยายพ่วง    
3. คลองบางพัง 3. ลำรางมติชน    
4. คลองบางพูด 4. ลำรางบ้านช่อง    
5. คลองส้ม 5. ลำรางแวะ    
6. คลองวัดช่องลม 6. ลำรางดงตาล    
7. คลองบ้านเก่า 7. ลำรางหัวสิงห์    
8. คลองบ้านใหม่ 8. ลำรางหนองใหญ่    
9. คลองส่วย 9. ลำรางขี้เหล็ก    
10. คลองอ้อมเกาะ 10. ลำรางควาย    
11. คลองโพธิ์ 11. ลำรางเต่าดำ    
12. คลองตาล 12. ลำรางหนองตาเกิ้น    
13. คลองสามง่าม      
14. คลองเกลือ      
15. คลองตรง      
16. คลองนา      
17. คลองวัดกลางเกร็ด      
       

ที่มา : เทศบาลนครปากเกร็ด 2559

(พระราชกฤษฎีกา จัดตั้งเทศบาลนครปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี พ.ศ.๒๕๔๓)
สถานะการคลัง

 

1.รายรับ

2.รายจ่าย

3.รายจ่ายจำแนกตามแผนงาน

 

4.เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี

เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2551
ประกาศใช้เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2551
- รายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2551
เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2552
ประกาศใช้เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2552
- รายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2552
เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2553
ประกาศใช้เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2553
- รายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2553

 

5.รายจ่ายในการพัฒนา

รายจ่ายในการพัฒนา ปี2551
- รายการครุภัณฑ์/รายการค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ปี 2551
- ประชาสัมพันธ์งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
รายจ่ายในการพัฒนา ปี2552
ประชาสัมพันธ์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
รายจ่ายในการพัฒนา ปี2553
- ประชาสัมพันธ์งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

 

6.รายงานงบการเงิน (รายไตรมาส)

  

รายงานงบการเงิน ปี 2551
ไตรมาสที่1 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่2 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่3 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่4 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)

 

  

รายงานงบการเงิน ปี 2552
ไตรมาสที่1 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่2 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่3 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่4 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)

 

  

รายงานงบการเงิน ปี 2553
ไตรมาสที่1 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่2 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่3 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่4 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)

  

รายงานงบการเงิน ปี 2554
ไตรมาสที่1 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่2 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่3 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่4 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)

 

  

รายงานงบการเงิน ปี 2555
ไตรมาสที่1 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่2 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่3 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่4 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)

 

  

รายงานงบการเงิน ปี 2556
ไตรมาสที่1 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่2 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่3 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่4 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)

 

  

รายงานงบการเงิน ปี 2557
ไตรมาสที่1 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่2 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่3 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)
ไตรมาสที่4 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบรายรับ-รายจ่าย (อ่านรายละเอียด)

 

7.การโอนเงิน

การโอนเงิน ปี2556
ครั้งที่ 41-64 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี (อ่านรายละเอียด)
ครั้งที่ 2-3 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี (อ่านรายละเอียด)
ครั้งที่ 1 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี (อ่านรายละเอียด)
การโอนเงิน ปี2555
ครั้งที่ 2 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี (อ่านรายละเอียด)
ครั้งที่ 1 ประกาศเทศบาล (อ่านรายละเอียด) รายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจำปี (อ่านรายละเอียด)

 

8.งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมประจำปี

งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ปี2556
ฉบับที่ 1 คำแถลงงบประมาณ (อ่านรายละเอียด) รายละเอียด (อ่านรายละเอียด)
ฉบับที่ 2 คำแถลงงบประมาณ (อ่านรายละเอียด) รายละเอียด (อ่านรายละเอียด)

 

9.งบแสดงฐานะการเงิน

งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ปี2556
ฐานะการเงิน เพียง ณ วันที่ 30 กันยายน 2556 รายละเอียด (อ่านรายละเอียด)
ฐานะการเงิน เพียง ณ วันที่ 30 กันยายน 2557 รายละเอียด (อ่านรายละเอียด)
ฐานะการเงิน เพียง ณ วันที่ 30 กันยายน 2558 รายละเอียด (อ่านรายละเอียด)

 

10.แผนการใช้จ่ายเงินรายไตรมาส

แผนการใช้จ่ายเงินรายไตรมาส ปี 2556
ไตรมาส 4 แผนการใช้จ่ายเงินรวมงบประมาณรายจ่ายประจำปี (อ่านรายละเอียด)
   
เสี้ยว...ประวัติศาสตร์

ปากเกร็ด เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนนทบุรี ซึ่งจังหวัดนนทบุรีนั้น เดิมเป็นส่วนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานีไทย สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ์ทรงโปรดให้ยกฐานะของ บ้านตลาดขวัญขึ้นเป็นเมืองนนทบุรี บริเวณตัวเมืองดั้งเดิมขณะนั้น คือ ท้องที่ตำบลบางกระสอในปัจจุบัน

ในปีพุทธศักราช ๒๑๗๙ รัชสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง ได้โปรดฯ ให้ขุดคลองอ้อมใหญ่ไปทะลุคลองบางกรวยตอนใต้ของวัดเขมาภิรตาราม ยาวประมาณ ๕ กิโลเมตร คลองนี้ถูกกระแสน้ำที่ไหลแรงขุดเซาะจนกว้างมาก กลายเป็นส่วนหนึ่งของแม่น้ำเจ้าพระยา จนในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ราวปีพุทธศักราช ๒๒๐๘ ทรงเห็นว่า การที่แม่น้ำเปลี่ยนทิศ ทำให้ข้าศึกประชิดเมืองได้ง่าย จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างป้อมปราการตรงปากแม่น้ำอ้อม และย้ายเมืองนนทบุรีมาอยู่ปากแม่น้ำอ้อมด้วย

พุทธศักราช ๒๒๖๔ ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ได้ทรงโปรดให้ขุดคลองลัดเกร็ด ที่อำเภอปากเกร็ด ความยาวได้ ๓๙ เส้นเศษจวบจนถึงปี พ.ศ. ๒๓๐๗ เมืองนนทบุรีเป็นยุทธภูมิระหว่างเรือกำปั่นอังกฤษกับพม่า และถูกพม่ายกค่ายเข้าเมืองในช่วงเหตุการณ์นี้ และจนกระทั่งรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ที่ตั้งของเมืองนนทบุรี จึงได้มีการโยกย้ายอีกครั้งเป็นบริเวณที่ตั้งในปัจจุบัน

ประชากรของจังหวัดนนทบุรี ประกอบไปด้วยชนชาวไทยที่สืบเชื้อสาย มาจากหลายเชื้อชาติทั้งไทย จีน มอญ แขก เป็นต้น โดยชาวไทยเชื้อสายมลายูและชาวไทยเชื้อสายมอญ อพยพมาอยู่ในจังหวัดนนทบุรีตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงสมัยกรุงธนบุรี ซึ่งปรากฏหลักฐานในหนังสืออักขรานุกรมภูมิศาสตร์ไทยดังนี้
ในจังหวัดนี้ มีชาวไทยที่สืบเชื้อสายมาจากมอญอยู่มากแถวอำเภอปากเกร็ด ตั้งแต่ปากคลองบางตลาด ฝั่งเหนือลำแม่น้ำเจ้าพระยา ด้านตะวันออกและตะวันตก ตำบลอ้อมเกร็ด เหนือคลองบางภูมิขึ้นไป รวมทั้งเกาะเกร็ดด้วย

เดิมอำเภอปากเกร็ด ตั้งที่ว่าการอำเภอที่วัดสนามไชย มีตำบล ๑๐ ตำบล หมู่บ้าน ๑๖๘ หมู่บ้าน พื้นที่ของอำเภอปากเกร็ดนั้นมีที่นามากกว่าที่สวน โดยสวนมีทุเรียนและสวนส้มเขียวหวาน เป็นไม้ยืนและมีผลไม้อื่นเป็นไม้แซม นอกจากการทำนาทำสวนแล้ว ยังมีการทำหัตถกรรมเครื่องดินเผาของบ้านเกาะเกร็ด โดยชาวบ้านที่ประกอบอาชีพนี้เป็น คนไทยเชื้อสายมอญ ที่ได้เข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรไทย ตั้งแต่สมัยกรุงธนบุรีและต้นกรุงรัตนโกสินทร์ การทำเครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาะเกร็ดนิยมสลักลวดลายอย่างสวยงาม จนกลายเป็นสัญลักษณ์ของปากเกร็ด

ปัจจุบันนี้ พื้นที่ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ในอำเภอปากเกร็ดคือพื้นที่ของเทศบาลนครปากเกร็ด ครอบคลุมพื้นที่ ๕ ตำบล คือ ตำบลปากเกร็ด ตำบลบางพูด ตำบลบางตลาด ตำบลคลองเกลือ และตำบลบ้านใหม่ และสภาพพื้นที่สวนผลไม้ต่าง ๆ ได้เปลี่ยนสภาพเป็นที่รองรับการขยายตัว เป็นที่พักอาศัยและอุตสาหกรรม จนอาจกล่าวได้ว่า พื้นที่ฝั่งตะวันออกของปากเกร็ดนี้ เป็นส่วนหนึ่งของกรุงเทพมหานครด้วย

 

...